อาการลองโควิดคืออะไร พบแบบไหนมากที่สุด อันตรายแค่ไหน
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] อาการลองโควิดคืออะไร พบแบบไหนมากที่สุด อันตรายแค่ไหน [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649349711158{margin-top: 5px !important;}”]อาการลองโควิดคืออะไร พบแบบไหนมากที่สุด อันตรายแค่ไหน อ่านเลยที่นี่มีคำตอบ ฐานเศรษฐกิจรวบรวมข้อมูลลักษณะอาการ ผลกระทบที่เกิดขึ้น อาการลองโควิดคือ เป็นคำถามที่ได้รับความสนใจในโลกโซเชียลเสมอ หลังจากที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 (Covid-19) โดยเฉพาะเมื่อเกิดสายพันธุ์โอมิครอน (Omicron)ที่มีการติดต่อได้ง่าย และรวดเร็ว ทั้งนี้ “ฐานเศรษฐกิจ” ดำเนินการสืบค้นข้อมูลเรื่องดังกล่าว เพื่อไขคำตอบ พบว่า ภาวะ Long COVID (ลองโควิด) คือ ผลกระทบระยะยาวของการติดเชื้อโควิด-19 ซึ่งมีอยู่หลากหลายชื่อไม่ว่าจะเป็น Long COVID-19 (ลองโควิด) ,Post-COVID condition ,Long-haul COVID ,post-acute COVID-19 ,post-COVID-19 syndrome หรือ chronic COVID มีลักษณะคือมีอาการผิดปกติยาวนานกว่า 4 […]
สงกรานต์2565 ป้องกันโควิด19 ชะลอระบาด
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] สงกรานต์2565 ป้องกันโควิด19 ชะลอระบาด [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1649348733272{margin-top: 5px !important;}”]แม้ศบค.จะผ่อนคลายมาตรการให้สามารถจัดงานสงกรานต์2565 ก็เพื่อให้เศรษฐกิจเดินหน้าได้ แต่ต้องไม่ลืมว่า “การเตือนภัยโควิด19ยังอยู่ในระดับ4” เกือบสูงสุด การใช้ชีวิตช่วงนี้จึงมิอาจชะล่าใจ จะต้องร่วมมือเต็มที่ในการป้องกันช่วยชะลอระบาด ให้ระบบสาธารณสุขรองรับไหว โควิดสายพันธุ์โอมิครอนก่อโรครุนแรงน้อยในคนทั่วไป แต่แพร่ได้เร็ว จึงมีโอกาสสูงด้วยที่เชื้อจะไปติด”กลุ่มเปราะบาง”ที่เสี่ยง หากรับเชื้อแล้วจะมีอาการรุนแรง คือ ผู้สูงอายุ ผู้มีโรคประจำตัว หญิงตั้งครรภ์ โดยเฉพาะที่ยังไม่ได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น ซึ่งกว่า 90%ของผู้เสียชีวิตคือกลุ่มนี้ ขณะที่การฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นในผู้สูงอายุไม่ถึง 40 % ถือว่ายังน้อยมาก!! และในจำนวนผู้ติดเชื้อยืนยันที่รายงานวันละกว่า 20,000 รายนั้น เป็นผู้สูงอายุราว 10 % นั่นแปลว่ามีผู้สูงอายุที่เสี่ยงจะอาการรุนแรงติดเชื้อวันละกว่า 2,000 ราย นับว่าไม่น้อย!! ารใช้ชีวิตช่วง สงกรานต์2565 จึงต้องอยู่บนความเข้าใจอย่างสมดุลระหว่างการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการป้องกันโควิด19 หากอิงตามคำแนะนำในการเตือนภัยโควิด19 ระดับ 4 ของกระทรวงสาธารณสุข(สธ.) ช่วงสงกรานต์นี้ ควรที่จะ “งดไปสถานที่เสี่ยง งดการรวมกลุ่มสังสรรค์ […]
WHO ยืนยัน ‘โควิดเดลตาครอน’ นี่คือสิ่งที่ทุกคนควรรู้
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] WHO ยืนยัน ‘โควิดเดลตาครอน’ นี่คือสิ่งที่ทุกคนควรรู้ [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1648956795159{margin-top: 5px !important;}”] องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยัน โควิดสายพันธุ์ใหม่ ที่เป็นลูกผสมของ ‘เดลต้า’ และ ‘โอไมครอน’ อย่าง ‘โควิดเดลตาครอน’ และต่อไปนี้คือสิ่งที่ทุกคนควรรู้ ดร.มาเรีย แวน เคอร์โคฟ (Maria Van Kerkhove, PhD) หัวหน้าฝ่ายเทคนิคด้านโควิด-19 ขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) แถลงว่า พบผู้ป่วยติดเชื้อโควิดเดลตาครอน ซึ่งเป็นลูกผสมของโควิดเดลต้าและโควิดโอไมครอน ที่เริ่มแพร่ระบาดในยุโรปแล้ว ทั้งใน ฝรั่งเศส เดนมาร์ก และเนเธอร์แลนด์ ขณะนี้มีการเฝ้าระวังที่ดีมากในหลายประเทศ และเป็นผลให้ผู้เชี่ยวชาญได้พิจารณาว่า “การตรวจจับนี้มีระดับต่ำมาก” แวน เคอร์โคฟ กล่าว ทางกลุ่ม Global Initiative on Sharing […]
ทำไมโควิด-19 ถึงแพร่กระจายทางอากาศ (Airborne)
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] ทำไมโควิด-19 ถึงแพร่กระจายทางอากาศ (Airborne) [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1647671024245{margin-top: 5px !important;}”] พฤษภาคม 2564 เว็บไซต์ของ CDC ได้เผยแพร่ข้อสรุปทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Brief) เรื่องการแพร่กระจายของไวรัส SARS-CoV-2 ซึ่งเป็นเชื้อก่อโรคโควิด-19 โดยระบุว่า ช่องทางการแพร่เชื้อในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 3 ช่องทาง คือ การหายใจเอาไวรัสเข้าไป การสัมผัสเยื่อบุตา / จมูก / ปากโดยตรง และการสัมผัสเยื่อบุตา / จมูก / ปาก ผ่านมือที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัส สารคัดหลั่งทางเดินหายใจ (Respiratory Fluids) ถูกปล่อยออกมาระหว่างหายใจออก เช่น การหายใจตามปกติ การพูด การร้องเพลง การออกกำลังกาย การไอหรือจาม เป็นละอองขนาดเล็ก-ใหญ่แตกต่างกัน และละอองเหล่านี้เป็นตัวพาไวรัสไปติดเชื้อให้กับผู้อื่น แต่จะสามารถแพร่ไปได้ไกลเท่าไรขึ้นกับขนาดของละอองและสิ่งแวดล้อมในขณะนั้น […]
โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า คืออะไร
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] ศูนย์จีโนมฯ วิเคราะห์โอมิครอน BA.2 จะทำให้โควิดระบาดระลอก 6 ในไทยหรือไม่? [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1647670557287{margin-top: 5px !important;}”]นอกจากคำเรียกชื่อสายพันธ์ุของเชื้อโควิด-19 ที่เราเคยเห็นเรียกกันตามชื่อประเทศที่พบสายพันธุ์นั้นๆ ครั้งแรกแล้ว เรายังมีการเรียกชื่อสายพันธุ์ว่าอัลฟ่า เบต้า แกมมา และเดลต้า อีกด้วย โควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า คืออะไร องค์การอนามัยโลก (WHO) เปลี่ยนชื่อในการเรียกสายพันธุ์โควิด-19 จากชื่อประเทศที่พบเชื้อโควิดครั้งแรก เป็นระบบตัวอักษรภาษากรีก เช่น อัลฟ่า เบต้า แกมมา และเดลต้า เพื่อลดการตีตราประเทศนั้นๆ โดยมีการบัญญัติชื่อเรียกสายพันธุ์โควิดใหม่ ดังนี้ สายพันธุ์อังกฤษ (B.1.1.7) คือ สายพันธุ์อัลฟ่า (A) สายพันธุ์แอฟริกาใต้ (B.1.351) คือ สายพันธุ์เบต้า (B) สายพันธุ์บราซิล (P.1) คือ สายพันธุ์แกมมา (Γ) […]
ศูนย์จีโนมฯ วิเคราะห์โอมิครอน BA.2 จะทำให้โควิดระบาดระลอก 6 ในไทยหรือไม่?
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] ศูนย์จีโนมฯ วิเคราะห์โอมิครอน BA.2 จะทำให้โควิดระบาดระลอก 6 ในไทยหรือไม่? [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1646316479332{margin-top: 5px !important;}”]ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ วิเคราะห์สถานการณ์ว่าสายพันธุ์โอมิครอน BA.2 จะทำให้โควิดระบาดเป็นระลอกที่ 6 ในเมืองไทยได้หรือไม่ วันนี้ (3 มี.ค.) เมื่อเวลา 11.00 น. เพจเฟซบุ๊ก Center for Medical Genomics หรือ ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เผยแพร่ข้อมูลที่เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์การระบาดของโควิดได้อย่างน่าสนใจ ดังนี้ – ธรรมชาติการกลายพันธุ์และการระบาดใหญ่ 5 ระลอกของไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย – โอมิครอน BA.2 จะก่อให้เกิดการระบาดระลอกที่ 6 ในประเทศไทยหรือไม่? – คุณสมบัติไวรัสสายพันธุ์ใหม่ที่จะมาแทนที่โอมิครอน ปรับปรุง 3/3/2565 11.00 น. วิเคราะห์จากข้อมูลการถอดรหัสพันธุ์กรรมทั้งจีโนมของไวรัสโคโรนา […]
โควิดวันนี้ (3 มี.ค.) ศบค.พบป่วยใหม่ 23,618 ราย+ATK พุ่งกระฉูด 42,138 คน
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] โควิดวันนี้ (3 มี.ค.) ศบค.พบป่วยใหม่ 23,618 ราย+ATK พุ่งกระฉูด 42,138 คน [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1646315823314{margin-top: 5px !important;}”]ศบค. รายงานยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 รายใหม่วันนี้ (3 มี.ค.) เพิ่ม 23,618 ราย ติดเชื้อมาจากต่างประเทศ 181 ราย เสียชีวิตทำสถิตินิวไฮ 49 คน ผลตรวจ ATK พบผู้ติดเชื้อเข้าข่ายเพิ่มถึง 42,138 ราย ด้านศูนย์ฉีดวัคซีนกลางบางซื่อ เปิดให้ลงทะเบียน Walk in เก็บตกทุกเข็ม ทุกสัญชาติ วันที่ 3 มีนาคม 2565 ศูนย์ข้อมูล COVID-19 ของรัฐบาลและศูนย์ EOC กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์ประจำวันยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 […]
โควิดวันนี้ ผลตรวจ RT-PCR รวม ATK ทะลุ 6 หมื่น คาดยอดติดเชื้อพุ่งสูงสุดกลางเดือนเม.ย. 65
[vc_row css=”.vc_custom_1646315198459{margin-top: 20px !important;margin-right: 20px !important;margin-left: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] โควิดวันนี้ ผลตรวจ RT-PCR รวม ATK ทะลุ 6 หมื่น คาดยอดติดเชื้อพุ่งสูงสุดกลางเดือนเม.ย. 65 [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1646315585017{margin-top: 5px !important;}”] ศบค.เผยผลตรวจโควิด-19 แบบ RT-PCR รวม ATK พบป่วยรายใหม่ทะลุ 6 หมื่นราย คาดกลางเดือนเม.ย.65 ยอดติดเชื้อพุ่งสูงสุด จากนั้นค่อยๆ ลดลง พญ.สุมนี วัชรสินธุ์ ผู้อำนวยการสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กรมควบคุมโรค ในฐานะผู้ช่วยรองโฆษก ศบค. แถลงยอดผู้ติดเชื้อโควิด-19 วันที่ 3 มี.ค.2565 ผลตรวจแบบ RT-PCR พบติดเชื้อรายใหม่ 23,618 ราย แต่ถ้ารวมผู้ที่ตรวจแบบATK จะมีเพิ่มขึ้นมาอีกจำนวน 42,138 ราย โดยผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้ง PCR […]
“โอไมครอน” แพร่กระจายเชื้อได้เร็วกว่า ฟุ้งลอยอยู่ในอากาศได้นานกว่าเดลต้า
[vc_row css=”.vc_custom_1645626461760{margin-top: 20px !important;}”][vc_column][vc_column_text] “โอไมครอน” แพร่กระจายเชื้อได้เร็วกว่า ฟุ้งลอยอยู่ในอากาศได้นานกว่าเดลต้า [/vc_column_text][vc_column_text css=”.vc_custom_1645626596811{margin-top: 5px !important;}”]หมอธีระวัฒน์ เปิดข้อมูล “โอไมครอน” แพร่กระจายเชื้อได้เร็วกว่า ฟุ้งลอยอยู่ในอากาศได้นานกว่าเดลต้า หนีวัคซีนได้หมด วันนี้ (11ธ.ค.64) นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา Thiravat Hemachudha โดยระบุว่า จาก ยูทูป ดร John Campbell พูดถึงข้อมูลตรงไปตรงมาเกี่ยวกับโอไมครอนแพร่กระจายได้เร็วกว่า และการฟุ้งลอยอยู่ในอากาศได้นานกว่าเดลต้าแน่นอน อยู่ที่โล่งจะดี (จะเกี่ยวหรือไม่กับการที่มีโคโรนา ประจำถิ่นที่เหมือนหวัดเข้ามาควบรวมอยู่ด้วย) หนีวัคซีนได้หมด เป็นเหตุผลให้มีการติดเชื้อจำนวนทวีคูณขึ้นได้อย่างรวดเร็วมากกว่าเดลต้าและ ภายในเวลาเป็นสัปดาห์จะเข้าไปเคียงคู่หรือเบียดเดลต้า[/vc_column_text][/vc_column][/vc_row][vc_row css=”.vc_custom_1645626499015{margin-top: 5px !important;}”][vc_column width=”1/2″][vc_single_image image=”7425″ img_size=”full”][/vc_column][vc_column width=”1/2″][vc_column_text] คำถามที่ยังไม่มีใครตอบได้คือถ้ามีติดเชื้อเดลต้ากับโอไมครอนในคนเดียวกันจะเกิดอะไรขึ้น หรือกับไวรัสในตระกูลอื่น? การติดเชื้อลุกลามได้อย่างรวดเร็ว ถึงแม้ข้อมูลมีมาในระยะเกือบหนึ่งเดือนที่ผ่านมามีผู้ป่วยเข้าโรงพยาบาลแต่ที่ต้องการออกซิเจนหรืออาการหนักจะดูไม่มาก แต่ถ้าติดเชื้อคนจำนวนเป็น 100,000 หรือล้าน สัดส่วนที่ต้องเข้าโรงพยาบาลจะมากขึ้นเป็นเงาตามตัว […]